โรคทางตา ภัยเงียบ จักษุแพทย์เตือนระวังโรคทางตา ภัยเงียบคนทำงานยุคดิจิทัล นักโภชนาการแนะสารอาหารสำคัญ ลดความเสี่ยงโรคจอประสาทตาเสื่อม หรือนักโภชนาการแนะสารอาหาร ช่วยลดความเสี่ยงโรคจอประสาทตาเสื่อมในคนทำงานยุคดิจิทัล ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ทำให้
วิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนได้เปลี่ยนแปลงไปส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของประชาชน นพ.ธีรวีร์ หงส์หยก อาจารย์จักษุแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องกระจกตา และการผ่าตัดแก้ไขสายตา โรงพยาบาลราชวิถี และวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต บรรยายในหัวข้อ “การดูแลสุขภาพดวงตา…วัยทำงานยุคดิจิทัล” เปิดเผยว่า ในประเทศไทย
สามารถพบอุบัติการณ์โรคทางดวงตา และอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับดวงตาเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากพฤติกรรมของคนในการใช้สายตาเปลี่ยนไป รวมทั้งการละเลยการดูแลดวงตาต่อเนื่องเป็นเวลานาน นอกจากนี้ยังพบว่า กลุ่มคนทำงานเป็นกลุ่มคนที่ เกิดอาการผิดปกติกับดวงตามากที่สุด โรคเกี่ยวกับตาอักเสบ เพราะเป็นกลุ่มคนที่ใช้เวลา
หลายชั่วโมง ในแต่ละวันไปกับการจ้องจอ ไม่ว่าจะเป็นจอคอมพิวเตอร์ มือถือ แทบเล็ต และ Gadgets ต่าง ๆ ซึ่งพบมากถึงร้อยละ 70 ของผู้ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์ เป็นเวลานาน โรคทางตา ภัยเงียบ และพบได้มากขึ้นในคนที่อายุมากกว่า 40 ปี ทำให้เกิด Computer Vision Syndrome เกิดอาการผิดปกติ เช่น อาการล้าตา ตาแห้ง
แสบตา แพ้แสงสู้แสงไม่ได้ ปวดศีรษะ ปวดคอ บ่า ไหล่ ร่วมด้วย นอกจากนี้ แสงสีฟ้า (Blue Light) ซึ่งเป็นคลื่นแสง ที่มีพลังงานสูงจากจอคอมพิวเตอร์ มือถือ แทบเล็ต Gadgets ต่าง ๆ และรังสียูวีจากแสงแดด ที่เข้าสู่ดวงตา ทำให้เกิดอนุมูลอิสระ ในเซลล์จอประสาทตา ทำให้เซลล์ค่อย ๆ เสื่อมลง หากไม่ดูแล และปรับพฤติกรรม
จอประสาทตาเสื่อม การใช้สายตา จะทำให้เป็นโรคจอประสาทตา เสื่อมในที่สุด ผศ.ดร.เอกราช บำรุงพืชน์ ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล บรรยายในหัวข้อ “อาหารและโภชนาการสร้างเสริมสุขภาพดวงตา” ว่า ปัจจุบันคนไทย ติดสมาร์ตโฟนมากขึ้น กว่าแต่ก่อนมาก จากการสำรวจ พบว่าคนไทยมากถึง
ร้อยละ 98 ใช้เวลาตั้งแต่ตื่นนอน ถึงก่อนเข้านอน ทำให้เสี่ยงต่อการ เป็นโรคจอประสาทตา เสื่อมเพิ่มขึ้น เว็บบาคาร่า 888 ดังนั้น นอกจากเราต้องปรับพฤติกรรม การใช้ดวงตา อยู่หน้าจอแล้ว เราต้องรับประทานสารอาหาร
ที่ช่วยดูแลดวงตา ให้มีสุขภาพดี และลดความเสี่ยง ในการเกิดโรครวมทั้ง อาการผิดปกติกับดวงตา ข้อแนะนำของ National Eye Institute สหรัฐอเมริกา ระบุว่า การรับประทาน ลูทีน 10 มิลลิกรัม ร่วมกับซีแซนทีน 2
มิลลิกรัม ซึ่งเป็นปริมาณที่เหมาะสมและปลอดภัย จะช่วยลดความเสี่ยง ของการเกิดโรคจอประสาทตาเสื่อมได้ เพราะช่วยทำหน้าที่กรองแสง ตลอดจนรังสีต่าง ๆ รวมทั้งแสงสีฟ้าที่ออกมาจากจออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ
จอประสาทตาเสื่อม ซึ่งมีความจำเป็น อย่างยิ่งกับคนที่ทำงาน โดยการใช้สายตาจ้องจอนาน ๆ หรือทำงานในที่ที่มีแสงจ้า ซึ่งร่างกายของเรา ไม่สามารถสร้างลูทีน และซีแซนทีนได้เอง จำเป็นต้องได้รับจากอาหาร ที่เรารับ
ประทานเท่านั้น และเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้นลูทีน และซีแซนทีนในจอประสาทตา จะมีปริมาณลดลงเรื่อย ๆ โดยลูทีน พบมากในหน่อไม้ฝรั่ง และบล็อกโครี่ ส่วนซีแซนทีนพบมาก ในพริกหวานสีส้ม ข้าวโพด น้ำส้ม และองุ่นเขียว
นอกจากนี้ยังมีสารอาหารอื่น ๆ โรคเกี่ยวกับตาอักเสบ ที่ช่วยดูแลสุขภาพดวงตา เช่น วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี เบต้าแคโรทีน ดีเอชเอ และแอนโธไซยานิน พริกไทย เป็นต้น ที่ช่วยในการมองเห็น เพิ่มความชุ่มชื้นของ
ตา ปกป้องสายตาจากแสงแดด และชะลอความเสื่อมของเลนส์ตา นอกจากการรับประทานสารอาหาร ที่มีประโยชน์ต่อดวงตาแล้ว ควรปรับพฤติกรรมการใช้ดวงตาอยู่หน้าจอ โดยใช้กฎ 20-20-20 คือทุก 20 นาทีควร
ละสายตา จากจอคอมพิวเตอร์หรือมือถือ ผ่อนคลายสายตาด้วยการมองวัตถุอื่น ๆ ที่ห่างออกไปประมาณ 20 ฟุต กระพริบตาต่อเนื่อง เพื่อป้องกันอาการตาแห้ง รวมทั้งลุกขึ้นเดินไปรอบ ๆ บริเวณที่นั่งอยู่ประมาณ 20 ก้าว เพื่อสุขภาพดวงตาที่ดี และยืดอายุดวงตาให้เสื่อมช้าลง ดังนั้นเริ่มดูแลดวงตาตั้งแต่วันนี้ เพราะเรามีดวงตาเพียงคู่เดียว ที่ต้องอยู่คู่เราไปตลอดชีวิต
Category:
ใส่ความเห็น